แผนกทรัพยากรมนุษย์

 หน้าแรก   >>  แผนกทรัพยากรฯ   >>  แจ้งข่าวสารบริษัท   >>  HBD รายชื่อพนักงานที่เกิด เดือน กุมภาพันธ์ 2564


HBD รายชื่อพนักงานที่เกิด เดือน กุมภาพันธ์ 2564

2021-02-02 13:47:33 | แท็ก : ทั่วๆไป | คนอ่าน : 719


   คณะรัฐมนตรี เห็นชอบการขยายกำหนดเวลาการยื่นชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับแบบแสดงรายการภาษี ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด. 91 ปีภาษี 2563 ที่ยื่นผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจากเดิมภายในเดือน มี.ค. 2564 ออกไปเป็นภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2564
 
  ข้อมูลที่ต้องใช้ยื่นภาษีเป็นสิ่งจำเป็นที่สุด หากรับรายได้จากบริษัททางเดียว ก็ใช้ใบทวิ 50 แต่หากมีรายได้หลายช่องทาง ก็ต้องเตรียมเอกสารแสดงการหักภาษีของหน่วยงานที่จ้างคุณไว้
 
สิ่งที่ต้องเตรียม
 
1. เตรียมเอกสารแสดงรายได้ และข้อมูลที่จำเป็นให้พร้อม
2. เข้าสู่หน้าเว็บไซต์กรอกข้อมูล
3. ชำระภาษี หรือ ขอคืนภาษี
 
 
ยื่นภาษีได้ที่ไหน
 
การยื่นภาษี ทำได้โดย
 
1. กรอกใบ ภ.ง.ด. แล้วเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ไปยังสำนักงานสรรพากรทุกพื้นที่
2. ยื่นภาษีออนไลน์ด้วยตัวเอง
 
ขั้นตอนยื่นภาษีออนไลน์ด้วยตัวเอง
 
ขั้นตอนที่ 1 สร้างรหัสผ่าน
 
เมื่อต้องการเข้าสู่ระบบการคลิกยื่นภาษีออนไลน์ เข้าสู่เว็บไซต์ rdserver.rd.go.th แล้วกดสมัครสมาชิก เพื่อใช้เลขบัตรประชาชนและรหัสผ่านเข้าสู่ขั้นตอนการยื่นภาษีต่อไป แต่หากลืมรหัสผ่าน เตรียมบัตรประชาชนขึ้นมาเพื่อกรอกข้อมูลสร้างรหัสผ่านใหม่ขั้นตอนที่ 2 เข้าสู่ระบบ
 
เบื้องต้น คุณต้องทราบว่าตัวเองเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประเภทใด หากมีรายได้จากเงินเดือนบริษัทเพียงอย่างเดียว กรอก ภ.ง.ด. 91 แต่หากมีเงินได้ประเภทอื่นๆ ด้วย กรอก ภ.ง.ด. 90ขั้นตอนที่ 3 กรอกข้อมูลส่วนบุคคล
 
ในหน้าแรกจะพบกับช่องให้กรอก ชื่อ สกุล ที่อยู่ ต้องกรอกข้อมูลที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ เพราะหากสรรพากรต้องการเอกสารเพิ่มเติมจะได้แจ้งกลับมาได้ถูก หน้าถัดไปจะเป็นช่องให้กรอกสถานภาพการสมรส และกรอกชื่อคู่สมรส พร้อมเลขบัตรประชาชนเพื่อตรวจสอบ หากคู่สมรสมีเงินได้ก็แยกกันยื่นได้ขั้นตอนที่ 4 กรอกข้อมูลที่มาของเงินได้ และรายจ่ายเพื่อลดหย่อนภาษี
 
หลังจากใส่ข้อมูลส่วนบุคคลแล้ว ก็กรอกข้อมูลแหล่งที่มาของเงินได้ ทั้งเงินเดือนและค่าจ้างต่างๆ รวมถึงข้อมูลค่าใช้จ่ายส่วนตัว ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ค่าเลี้ยงดูอุปการะบิดามารดา ฯลฯ เพื่อนำไปคำนวณภาษี
 
ขั้นตอนที่ 5 กดบันทึกเพื่อพิมพ์แบบ หรือขอคืนภาษี
 
เมื่อคุณกรอกข้อมูลครบทุกขั้นตอนแล้ว ให้เลือกว่าจะกดยื่นภาษีทันที หรือบันทึกเพื่อกลับมาแก้ไขอีกครั้ง หากเข้ามาแก้ภายหลังจะต้องกรอกหมายเลขด้านหลังบัตรประชาชน (Lasser ID) พร้อมกับหมายเลขอ้างอิงการยื่นแบบอีกครั้ง
 
หลังจากยื่นแบบไปแล้ว คุณสามารถชำระภาษีได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด หรือขอคืนภาษีผ่าน PromptPay ได้ หากสรรพากรต้องการเอกสารเพิ่มเติมก็จะแจ้งให้ทราบเป็นจดหมาย SMS หรือ E-mail ที่คุณแจ้งรับข่าวสารไว้
 
โทษของการไม่ยื่นภาษี
 
    หากยื่นภาษีไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนด จะต้องนำเอกสารไปยื่นเองที่สำนักงานสรรพากรใกล้บ้าน และมีโทษการไม่ยื่นภาษีภายในกำหนดเวลา
    กรณีไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90, 91 หรือ 94 ภายในกำหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับทางอาญาไม่เกิน 2,000 บาท
    กรณีจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือแสดงหลักฐานเท็จหรือฉ้อโกง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือนถึง 7 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท
    กรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
 
ที่มา : เว็บไซต์กรมสรรพากร

   คณะรัฐมนตรี เห็นชอบการขยายกำหนดเวลาการยื่นชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับแบบแสดงรายการภาษี ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด. 91 ปีภาษี 2563 ที่ยื่นผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจากเดิมภายในเดือน มี.ค. 2564 ออกไปเป็นภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2564
 
  ข้อมูลที่ต้องใช้ยื่นภาษีเป็นสิ่งจำเป็นที่สุด หากรับรายได้จากบริษัททางเดียว ก็ใช้ใบทวิ 50 แต่หากมีรายได้หลายช่องทาง ก็ต้องเตรียมเอกสารแสดงการหักภาษีของหน่วยงานที่จ้างคุณไว้
 
สิ่งที่ต้องเตรียม
 
1. เตรียมเอกสารแสดงรายได้ และข้อมูลที่จำเป็นให้พร้อม
2. เข้าสู่หน้าเว็บไซต์กรอกข้อมูล
3. ชำระภาษี หรือ ขอคืนภาษี
 
 
ยื่นภาษีได้ที่ไหน
 
การยื่นภาษี ทำได้โดย
 
1. กรอกใบ ภ.ง.ด. แล้วเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ไปยังสำนักงานสรรพากรทุกพื้นที่
2. ยื่นภาษีออนไลน์ด้วยตัวเอง
 
ขั้นตอนยื่นภาษีออนไลน์ด้วยตัวเอง
 
ขั้นตอนที่ 1 สร้างรหัสผ่าน
 
เมื่อต้องการเข้าสู่ระบบการคลิกยื่นภาษีออนไลน์ เข้าสู่เว็บไซต์ rdserver.rd.go.th แล้วกดสมัครสมาชิก เพื่อใช้เลขบัตรประชาชนและรหัสผ่านเข้าสู่ขั้นตอนการยื่นภาษีต่อไป แต่หากลืมรหัสผ่าน เตรียมบัตรประชาชนขึ้นมาเพื่อกรอกข้อมูลสร้างรหัสผ่านใหม่ขั้นตอนที่ 2 เข้าสู่ระบบ
 
เบื้องต้น คุณต้องทราบว่าตัวเองเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประเภทใด หากมีรายได้จากเงินเดือนบริษัทเพียงอย่างเดียว กรอก ภ.ง.ด. 91 แต่หากมีเงินได้ประเภทอื่นๆ ด้วย กรอก ภ.ง.ด. 90ขั้นตอนที่ 3 กรอกข้อมูลส่วนบุคคล
 
ในหน้าแรกจะพบกับช่องให้กรอก ชื่อ สกุล ที่อยู่ ต้องกรอกข้อมูลที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ เพราะหากสรรพากรต้องการเอกสารเพิ่มเติมจะได้แจ้งกลับมาได้ถูก หน้าถัดไปจะเป็นช่องให้กรอกสถานภาพการสมรส และกรอกชื่อคู่สมรส พร้อมเลขบัตรประชาชนเพื่อตรวจสอบ หากคู่สมรสมีเงินได้ก็แยกกันยื่นได้ขั้นตอนที่ 4 กรอกข้อมูลที่มาของเงินได้ และรายจ่ายเพื่อลดหย่อนภาษี
 
หลังจากใส่ข้อมูลส่วนบุคคลแล้ว ก็กรอกข้อมูลแหล่งที่มาของเงินได้ ทั้งเงินเดือนและค่าจ้างต่างๆ รวมถึงข้อมูลค่าใช้จ่ายส่วนตัว ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ค่าเลี้ยงดูอุปการะบิดามารดา ฯลฯ เพื่อนำไปคำนวณภาษี
 
ขั้นตอนที่ 5 กดบันทึกเพื่อพิมพ์แบบ หรือขอคืนภาษี
 
เมื่อคุณกรอกข้อมูลครบทุกขั้นตอนแล้ว ให้เลือกว่าจะกดยื่นภาษีทันที หรือบันทึกเพื่อกลับมาแก้ไขอีกครั้ง หากเข้ามาแก้ภายหลังจะต้องกรอกหมายเลขด้านหลังบัตรประชาชน (Lasser ID) พร้อมกับหมายเลขอ้างอิงการยื่นแบบอีกครั้ง
 
หลังจากยื่นแบบไปแล้ว คุณสามารถชำระภาษีได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด หรือขอคืนภาษีผ่าน PromptPay ได้ หากสรรพากรต้องการเอกสารเพิ่มเติมก็จะแจ้งให้ทราบเป็นจดหมาย SMS หรือ E-mail ที่คุณแจ้งรับข่าวสารไว้
 
โทษของการไม่ยื่นภาษี
 
    หากยื่นภาษีไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนด จะต้องนำเอกสารไปยื่นเองที่สำนักงานสรรพากรใกล้บ้าน และมีโทษการไม่ยื่นภาษีภายในกำหนดเวลา
    กรณีไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90, 91 หรือ 94 ภายในกำหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับทางอาญาไม่เกิน 2,000 บาท
    กรณีจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือแสดงหลักฐานเท็จหรือฉ้อโกง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือนถึง 7 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท
    กรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
 
ที่มา : เว็บไซต์กรมสรรพากร
   คณะรัฐมนตรี เห็นชอบการขยายกำหนดเวลาการยื่นชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สำหรับแบบแสดงรายการภาษี ภ.ง.ด. 90 และ ภ.ง.ด. 91 ปีภาษี 2563 ที่ยื่นผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจากเดิมภายในเดือน มี.ค. 2564 ออกไปเป็นภายในวันที่ 30 มิ.ย. 2564
 
  ข้อมูลที่ต้องใช้ยื่นภาษีเป็นสิ่งจำเป็นที่สุด หากรับรายได้จากบริษัททางเดียว ก็ใช้ใบทวิ 50 แต่หากมีรายได้หลายช่องทาง ก็ต้องเตรียมเอกสารแสดงการหักภาษีของหน่วยงานที่จ้างคุณไว้
 
สิ่งที่ต้องเตรียม
 
1. เตรียมเอกสารแสดงรายได้ และข้อมูลที่จำเป็นให้พร้อม
2. เข้าสู่หน้าเว็บไซต์กรอกข้อมูล
3. ชำระภาษี หรือ ขอคืนภาษี
 
 
ยื่นภาษีได้ที่ไหน
 
การยื่นภาษี ทำได้โดย
 
1. กรอกใบ ภ.ง.ด. แล้วเตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้อง ไปยังสำนักงานสรรพากรทุกพื้นที่
2. ยื่นภาษีออนไลน์ด้วยตัวเอง
 
ขั้นตอนยื่นภาษีออนไลน์ด้วยตัวเอง
 
ขั้นตอนที่ 1 สร้างรหัสผ่าน
 
เมื่อต้องการเข้าสู่ระบบการคลิกยื่นภาษีออนไลน์ เข้าสู่เว็บไซต์ rdserver.rd.go.th แล้วกดสมัครสมาชิก เพื่อใช้เลขบัตรประชาชนและรหัสผ่านเข้าสู่ขั้นตอนการยื่นภาษีต่อไป แต่หากลืมรหัสผ่าน เตรียมบัตรประชาชนขึ้นมาเพื่อกรอกข้อมูลสร้างรหัสผ่านใหม่ขั้นตอนที่ 2 เข้าสู่ระบบ
 
เบื้องต้น คุณต้องทราบว่าตัวเองเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประเภทใด หากมีรายได้จากเงินเดือนบริษัทเพียงอย่างเดียว กรอก ภ.ง.ด. 91 แต่หากมีเงินได้ประเภทอื่นๆ ด้วย กรอก ภ.ง.ด. 90ขั้นตอนที่ 3 กรอกข้อมูลส่วนบุคคล
 
ในหน้าแรกจะพบกับช่องให้กรอก ชื่อ สกุล ที่อยู่ ต้องกรอกข้อมูลที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ เพราะหากสรรพากรต้องการเอกสารเพิ่มเติมจะได้แจ้งกลับมาได้ถูก หน้าถัดไปจะเป็นช่องให้กรอกสถานภาพการสมรส และกรอกชื่อคู่สมรส พร้อมเลขบัตรประชาชนเพื่อตรวจสอบ หากคู่สมรสมีเงินได้ก็แยกกันยื่นได้ขั้นตอนที่ 4 กรอกข้อมูลที่มาของเงินได้ และรายจ่ายเพื่อลดหย่อนภาษี
 
หลังจากใส่ข้อมูลส่วนบุคคลแล้ว ก็กรอกข้อมูลแหล่งที่มาของเงินได้ ทั้งเงินเดือนและค่าจ้างต่างๆ รวมถึงข้อมูลค่าใช้จ่ายส่วนตัว ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ค่าเลี้ยงดูอุปการะบิดามารดา ฯลฯ เพื่อนำไปคำนวณภาษี
 
ขั้นตอนที่ 5 กดบันทึกเพื่อพิมพ์แบบ หรือขอคืนภาษี
 
เมื่อคุณกรอกข้อมูลครบทุกขั้นตอนแล้ว ให้เลือกว่าจะกดยื่นภาษีทันที หรือบันทึกเพื่อกลับมาแก้ไขอีกครั้ง หากเข้ามาแก้ภายหลังจะต้องกรอกหมายเลขด้านหลังบัตรประชาชน (Lasser ID) พร้อมกับหมายเลขอ้างอิงการยื่นแบบอีกครั้ง
 
หลังจากยื่นแบบไปแล้ว คุณสามารถชำระภาษีได้ตามเงื่อนไขที่กำหนด หรือขอคืนภาษีผ่าน PromptPay ได้ หากสรรพากรต้องการเอกสารเพิ่มเติมก็จะแจ้งให้ทราบเป็นจดหมาย SMS หรือ E-mail ที่คุณแจ้งรับข่าวสารไว้
 
โทษของการไม่ยื่นภาษี
 
    หากยื่นภาษีไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนด จะต้องนำเอกสารไปยื่นเองที่สำนักงานสรรพากรใกล้บ้าน และมีโทษการไม่ยื่นภาษีภายในกำหนดเวลา
    กรณีไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90, 91 หรือ 94 ภายในกำหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับทางอาญาไม่เกิน 2,000 บาท
    กรณีจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือแสดงหลักฐานเท็จหรือฉ้อโกง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษจำคุกตั้งแต่ 3 เดือนถึง 7 ปี และปรับตั้งแต่ 2,000 บาท ถึง 200,000 บาท
    กรณีเจตนาละเลยไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ
 
ที่มา : เว็บไซต์กรมสรรพากร

hrbg

โพสต์โดย    ตำแหน่ง
แผนก